ดาราศาสตร์ บทที่3 ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยา

ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยา
แผ่นดินไหว
-  สาเหตุเเละกลไกในการเกิดแผ่นดินไหว
          - การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามเเนวระหว่างรอยต่อของงแผ่นธรณีภาค
          - ทำให้เกิดเเรงพยายามกระทำต่อชั้นหินขนาดใหญ่ เพื่อจะทำให้ชั้นหินนั้นเเตกหัก
          - ขณะชั้นหินยังไม่เเตกหัก เกิดเป็ฯพลังงานศักย์ขึ้นที่ชั้นหินนั้น
          - เมื่อเเรงมีขนาดมากจนทำให้แผ่นหินเเตกหัก จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานนั้นไปยังชั้นหินที่อยู่ติดกัน
          - การถ่ายโปนพลังงานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในรูปของคลื่น แผ่ออกไปทุกทิศทาง
          - คลื่นที่แผ่ขากขุดกำเนิดการสั่นสะเทือนขึ้นมายังเปลือกโลกได้เรียกคล่ื่นนี้ว่า คลื่นในตัวกลาง



          - อัตราเร็วในการเเผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นกับความมยืดหยุ่นเเละความหนาเเน่นของตัวกลาง
          - เรียกจุดกำเนิดการสั่นสะเทือนว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (focus)
          -  ตำเเหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิด
          - แผ่นดินไหว(epicenter)ซึ่งจะมี คลื่นพื้นผิว กระจายออกไปจามเเนวผิวโลก
          - การระเบิดของภูเขาไฟอาจเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหวได้
          - การเคลื่อนตัวของเเมกมาตามเส้นทางมายังปากปล่องภูเขาไฟ อาจทำให้เกิดแผ่นดินไหวก่อนที่เเมกมานั้นจะระเบิดออกมาเป็นลาวา
          - การกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู ใต้ดินก็อาจจะเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหว
         
คลื่นไหวสะเทือน
-  คลื่นไหวสะเทือนมี 2เเบบ

1.คลื่นในตัวกลาง

2.คลื่นพื้นผิว



คลื่นในตัวกลาง


คลื่นปฐมภูมิ(P wave) เเละคลื่นทุติยภูมิ(S wave)


คลื่นพื้นผิว

1.คลื่นเลิฟ ( Love wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคของตัวกลางสั่นในเเนวราบ โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่นสามารถทำให้ถนนขาดหรือเเม่น้ำเปลี่ยนทิศทางการไหล

2.คลื่นเรย์ลี(R wave) เป็นคบื่นที่ทำให้อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็นรูปวงรี ในเเนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อที่ของคลื่น สามารถทำให้พื้นผิวเเตกร้าว เเละเกิดเนินเขา ทำให้อาคารที่ปลูกอยู่ด้สนบนเกิดความเสียหาย




ไซโมกราฟ(seismo-graph)
       เป็นเครื่องมือบันทึกข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวมีเป็นเครือข่ายทั่วโลก


























- บริเวณีที่มักเกิดแผ่นดินไหว
      -ตำเเหน่งของศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมีความสัมพันธ์กับเเนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค
1.เเนวรอยต่อที่ล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นสาเหตของแผ่นดินไหว 80เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมักจะรุนเเรง เรียกบริเวณนี้ว่า วงเเหวนเเห่งไฟ (ring of fire) ได้เเก่ ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ตะวันตกของเเม๊กซิโก ตะวันตกเฉียงใต้จองสหรัฐอเมริกา

2.เเนวรอยต่อภูเขาเเอลป์เเละภูเขาหิมาลัย เป็นเเหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว 15เปอร์เซ็นต์ ได้เเก่ พม่า อัฟกานิสถาน อิหร่าน ตุรกี เเถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรป

3.เเนวรอยต่อที่เหลือเป็นสาเหตุของอีก 5 เปอร์เซ็นต์ของแผ่นดินไหว ได้เเก่ บริเวณสันกลางมหาสมุทรต่างๆ ได้เเก่ บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตเเลนติกเเนวสันเขาในมหาสมุทรอินเดีย เเละเเนวสันเขาในมหาสมุทรอาร์กติก


ความรุนเเรงของการเกิดแผ่นดินไหว
- ความรุนเเรงของแผ่นดินไหว ขึ้นกับปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
- ความรุนเเรงของแผ่นดินไหว กำหนดจากผลกระทบหรือความเสียหายที่เกิดบนโลก ณ จุดสังเกต
- หน่วยวัดความรุนเเรงของแผ่นดินไหว คือ ริกเตอร์
- น้อยกว่า 2.0 ริกเตอร์ เป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก
- 6.0 ริกเตอร์ขึ้นไป จัดเป็นแผ่นดินไหวรุนเเรง

มาตราเมอร์คัลลี
คือ มาตราวัดความรุนเเรงของแผ่นดินไหว เเบ่งเป็น 12 ระดับ
1.คนไม่รู้สึกสั่นไหวเเต่เครื่องมือตรวจจับได้
2.คนในอาคารสูงรู้สึกได้
3.คนในอาคารเเม้ไม่สูงรู้สึกได้
4.คนในอาารเเละคนนอกอาคารบางส่วนรู้สึกได้ ของในอาคารสั่นไหว
5.รู้สึกได้ทุกคน ของขนาดเล็กมีการเคลื่อนที
6.วัตถุขนาดใหญ่ในอาคารมีการเคบื่อนที่
7.อาคารมาตราฐานปานกลางเสียหายเล็กน้อย
8.อาคารที่ออกเเบบพิเศษเสียหายเล็กน้อย อาคารมาตราฐานเสียหายมาก
9.อาคารที่ออกเเบบพิเศษเสียหายชัดเจน แผ่นดินเเยก
10.แผ่นดินเเยกถล่ม โคลนทรายพุ่งขึ้นจากรอยเเยก
11.ดินถล่มเเละเลื่อนไหล
12.ทุกสิ่งโดนทำลาย พื้นดินเป็นลอนคลื่น

แผ่นดินไหวในประเทศไทย

- พ.ศ 1003 ที่เวียงโยนกทำให้เวียงโยนกยุบจมลงกลายเป็นหนองน้ำใหญ่
- พ.ศ 1007 ยอดเจดีย์หักลงสี่เเห่ง
- พ.ศ 2008 ที่นครเชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหักลงมา
- พ.ศ 2506 มีแผ่นดินไหวรู้สึกได้ที่หรุงเทพมหานคร
- พ.ศ 2518 ศูนย์กลางอยู่ทีอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ ที่อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี
- พ.ศ 2526 รู้สึกได้ในภาคกลางเเละเหนือ

แผ่นดินไหวในประเทศไทย
รอยลื่อนมีพลัง(active fault) คือ เเนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่เคลื่อนที่ได้ในประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่อยู่ยริเวณภาคเหนือ เเละด้านตะวันตกของประเทศ
คาบอุบัติซ้ำ คือ ระยะเวลาครบรอบของแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้น ณ ที่นั้นมาก่อน อาจมีระยะเป็นพันปีหรือร้อยปี หรือน้อนกว่า




ภูเขาไฟ












การระเบิดของภูเขาไฟ



















เกิดจากหินหนืที่อยู่ใต้เปลือกโลกถูกเเรงดันอัดให้เเทรกรอยต่อขึ้นสู่ผิวโลกโดยมีเเรวปะทุหรือเเรงระเบิดเกิดขึ้น สิ่งที่พุ่งออกมาจากภูเขาไฟ ระเบิกก็คือหินหนืด ไอน้ำ ฝุ่นละออง เศษหินเเละเเก๊สต่างๆ โดยจะพุ่งออกมาจากปล่องงภูเขาไฟ
- ภูเขาไฟที่ดับเเล้วได้เกิดขึ้นมานานมากเเล้วนับได้เป็นเเสนล้านปี วัตถุที่พ่นออกมาเเข็งตัวกลายเป็นกินภูเขาไฟ
- ปัจจุบันทั่วโลกมีภูเขาไฟมีพลังอยู่ประมาณ 1500ลูก เเละกระจายอยูู่ในบริเวณรอยต่อของเเผ่นธรณีภาคโดยเฉพาะบริเวณวงเเหวนไฟ
- การระเบิกของภูเขาไฟเกิดจากการปะทุของเเมกมา เเก๊ส เถ้าจากใตตต้พื้นโลก
- ขณะระเบิดเเมกมาจะขึ้นมาตามปล่องภูเขาไฟ
- เมื่อหลุดออกมานอกภูเขาไๆฟจะเรียกเเมกมา นั้นว่า ลาวา มี อุณหภูมิ 1200องศาเซลเซียส


หินอัคนี เเบ่งเป็น 2ลักษณะ

เย็นตัวบนผิวโลก                              เย็นตัวใต้ผิวโลก

เย็นตัวเร็ว                                            เย็นตัวช้า

เนื้อละเอียด                                           เนื้อหยาบ

หินเเกรนิต เป็นหินอัคนี ที่เกิดขึ้นในชั้นหินอื่น ดังนั้นอัตราการการเย็นตตัวลงจึงช้า เกิดจากการตกผลึกของเเร่ได้มากสังเกตเห็นผลึกเเร่ต่างๆ ได้อย่างชัดเจน

หินภูเขาไฟ
- ความพรุนของหิน ขึ้นอยู่กับ อัตราการเย็นตัวของลาวา
- ตัวอย่างของหินจากภูเขาไฟ เช่น หินบะซอลต์ หินพัมมิช หินเเก้ว หินทัฟฟ์ หินออบซีเดียน

หินบะซอลต์

- เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัของลาวาที่ผิวโลก ดังนั้นจึงกระทบกับอากาศหรือน้ำส่งผลให้มีการเย็นตัวเร็วลักษณะของหินจะมีเม็ดละเอียดกว่าหินเเกรนิต เเเละมีรุพรุ่นเล็กน้อย
- เป็นต้นกำเนิดอัญมณีที่สำคัญ
- ถ้ามีปริมาณของ Si จะเป็นหินเเอนดีไซด์





หินพัมมิช
- เป็นหินที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วของลาวา ทำให้มีความพรุ่นสูง บางชิ้นลอยน้ำได้
- นำมาใชเป็นหินขขัดตัว











ภูมิลักษณ์ของภูเขาไฟ

 1.ที่ราบสูงบะซอลต์ เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ที่มีความหนืดไม่มากนัก ไหลแผ่เป็นบริเวณกว้างและทับถมกันหลายชั้น เมื่อแข็งตัวกลายเป็นที่ราบและเนินเขา เช่น ที่ราบสูงบะซอลต์ บ้านซับบอน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ราบสูงเดคคาน ประเทศอินเดีย ที่ราบสูงแถบตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา (รัฐวอชิงตัน) เป็นต้น
2.ภูเขาไฟรูปโล่ เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ระเบิดออกมาแบบมีท่อ เป็นการระเบิดที่ไม่รุนแรง ลาวาส่วนหนึ่งจะไหลแผ่กระจายทับถมกันเป็นสันนูนเหมือนภูเขาไฟเดิมขยายตัวออก ปล่องภูเขาไฟเล็กๆ บนยอดจะจมลงไป ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเตี้ยๆ กว้างๆ แบบกระทะคว่ำหรือโล่ เช่น ภูเขาไฟมัวนาลัวในหมู่เกาะฮาวาย เป็นต้น
 3.ภูเขาไฟรูปกรวย เป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นและรู้จักกันมากที่สุด มีรูปแบบของภูเขาไฟที่สวยงามที่สุด มีลักษณะเป็นภูเขาพูนสูงเป็นรูปโดมหรือกรวย อาจมีปล่องตรงกลางหรือไม่มีก็ได้ เพราะเมื่อภูเขาไฟดับแล้ว เนื้อลาวาแข็งตัวกลายเป็นหินอุดปล่องเอาไว้จนเต็มมองไม่เห็นปากปล่อง ภูเขาไฟรูปกรวยเกิดจากการพอกพูนของลาวาที่มีความหนืดมาก เมื่อถูกพ่นออกมาจึงไม่ไหลแผ่ออก มักเกิดจากการทับถมซ้อนกันหรือสลับกันระหว่างการไหลของลาวากับชิ้นส่วนของ ภูเขาไฟ เช่น ภูเขาไฟฟูจิยามา ประเทศญี่ปุ่น ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ภูเขาไฟมายอน ประเทศฟิลิปปินส์ ภูเขาไฟสุราบายา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น



ภูเขาไฟในประเทศไทย
ภูเขาไฟดอยผาคอกจำป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลำปาง
ภูเขาพระอังคาร ตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
ภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย
ภูเขาพนมสวาย (วนอุทยานพนมสวาย) จังหวัดสุรินทร์ สถิติอยู่ที่ 52 ครั้ง
ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น